ผลการดำเนินงาน ปีที่ 1
บทสรุปการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารทางวิชาการ
โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบต่อสุขภาพของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศไทยและการนำไปใช้ประโยชน์
ผลลัพธ์จากการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุปเป็นข้อมูลดังหัวข้อต่อไปนี้
1. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2.
แบบจำลองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับผลกระทบทางสุขภาพ
4.
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับมลพิษอากาศ
ช่วงที่ผ่านมามีการตื่นตัวเรื่องผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในหลากหลายมิติ
รวมทั้งด้านสุขภาพ โดยสังเกตจากจำนวนการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เทียบกับในช่วงระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา
แม้จะมีบทความวิชาการเพิ่มขึ้นมาก การวิจัยเกี่ยวกับสภาพอากาศและสุขภาพยังคงมีน้อยมาก
และกระจุกตัวในบางกลุ่มหรือบางพื้นที่
การคาดการณ์อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปในอนาคต
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศไทย
จากสถานการณ์การเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศและความสัมพันธ์ต่อสถานการณ์สุดโต่งของปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยาในแต่ละภูมิภาคและในระดับพื้นที่
ซึ่งสามารถนำไปปรับใช้กับการวางแผนการรับมือ อาทิกลยุทธ์การปรับตัวในด้านต่าง ๆ
รวมทั้งด้านสาธารณสุข ที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
จากการศึกษาของ Gaparrini และคณะ
เรื่องการทำนายการเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นที่สัมพันธ์กับอุณหภูมิ
ภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่างๆ ของ IPCC (RCP2.6 RCP4.5 RCP6.0 และ RCP8.5) ประเทศไทยอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อุณภูมิช่วงปี
ค.ศ.1999-2008 อยู่ในช่วง 25.1-29.3 องศาเซลเซียสมีค่าเฉลี่ยที่ 27.6 องศาเซลเซียส
เมื่อจำลองสถานการณ์ต่างๆ พบว่า อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มมากที่สุดตาม RCP8.5 ถึง 3.8 องศาเซลเซียส
The Factors Contributing to Degrees of Amoebiasis
Amoebiasis
is a human parasitic infection caused by Entamoeba histolytica. It is an
extracellular protozoan. There are exist in two forms consist of the highly
active and invasive trophozoites and the infective cysts. For the
transmission of disease is faecal-oral route, oral-rectal contamination and by
ingestion of infective cysts in drinking water and foods that why amoebiasis is
classified in food and water borne disease.